ดูแลประคับประคอง คืออะไร มาดูกัน 

ดูแลประคับประคอง 2 Jul

ดูแลประคับประคอง คืออะไร มาดูกัน 

ผู้ป่วยที่เป็นโรครักษาไม่หายซึ่งจะทำให้เสียชีวิตได้นั้นมีอยู่หลายคนในประเทศไทยเนื่องจากมีโรคชนิดหนึ่งที่คนไทยเป็นกันมากนั่นก็คือโรคมะเร็ง โรคนี้จะแพร่กระจายจากผู้ป่วยคนหนึ่ง สื่ออีกคนหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว และใครที่เป็นมะเร็ง ย่อมเสียชีวิต การ ดูแลประคับประคอง จึงได้เกิดขึ้นมา เพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งกว่าเดิม โดยจะมากล่าวถึงในบทความนี้ให้ได้รู้ถึงวิธีดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองว่ามีการดูแลแบบใด 

การดูแลประคับประคองคืออะไร ? 

ดูแลประคับประคอง คือการแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่เน้นไปทางด้านการบรรเทาไม่ให้ผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งหรือโรคใดก็ตามที่ไม่มีทางรักษาหายนั้นรู้สึกถึงความทุกข์ทรมาน อีกทั้งยังมีการปรับปรุงให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยนั้นดีขึ้นกว่าเดิม รวมไปถึงการรักษาอาการของโรคและผลข้างเคียงของโรคด้วย ฉะนั้น หลายคนจึงเรียกการรักษา ดูแลประคับประคอง ได้ในอีกหนึ่งชื่อคือ การดูแลตามอาการ ทำได้ในคนที่เป็นมะเร็งไม่ว่าจะอยู่ระยะไหนก็ตาม ยกตัวอย่างคือ ผู้รับยาลดอาเจียน คลื่นไส้ หรือระหว่างที่รับเคมีบำบัด ถือได้ว่าเป็นการแบบประคับประคอง หากคนไหนที่เป็นมะเร็งระยะแพร่กระจาย ก็จะมีข้อจำกัดเรื่องของการรักษาหาย การดูแลรูปแบบนี้จะเป็นแนวทางที่สำคัญต่อการดูแลทั้งกับผู้ป่วยรวมไปถึงครอบครัวด้วย แม้จะเป็นการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งได้ทุกระยะ แต่บทบาทที่แท้จริงก็คือการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิตนั่นเอง 

ผู้ป่วยมีอาการอย่างไรจึงจะต้อง ดูแลประคับประคอง 

สำหรับอาการของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่จำเป็นต้องได้รับการ ดูแลประคับประคอง นั้น สามารถกล่าวได้ดังต่อไปนี้ 

  • มีอาการที่ผู้ป่วยหายใจลำบาก 
  • มีความรู้สึกอ่อนเพลียได้ง่าย 
  • การนอนมีความผิดปกติ ไม่สามารถนอนได้อย่างคนทั่วไป 
  • มีอาการของการสับสนในตัวเอง 
  • มีอาการปวดตามตำแหน่งต่าง ๆ ในร่างกาย 
  • น้ำหนักของผู้ป่วยลดลง รวมถึงมีอาการเบื่ออาหาร ไม่มีความอยากอาหารไม่ว่าจะเป็นอาหารชนิดใดก็ตาม แม้แต่อาหารที่ชอบ 
  • กล้ามเนื้อมีความอ่อนแรง ขยับร่างกายได้น้อย 
  • มีความรู้สึกวิตกกังวลและอาการซึมเศร้า ชอบอยู่คนเดียว ไม่ชอบเข้าสังคม และผู้ป่วยดูเศร้าอยู่ตลอดเวลา  

จากบทความจะทำให้รู้ได้ว่า การ ดูแลประคับประคอง เป็นการดูแลตามอาการของโรคซึ่งสามารถใช้ได้กับผู้ป่วยทุก ๆ ระยะไม่ว่าจะเป็นระยะแรกเริ่มไปจนถึงระยะสุดท้าย โดยหลักแล้วมักนำมาใช้กับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่มีเวลาชีวิตเหลือน้อย เพื่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและสุขภาพจิตที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งไม่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเศร้าหรือแย่ก่อนที่จะจากโลกไป โดยมีครอบครัวเป็นส่วนสำคัญต่อการรักษาดูแลในรูปแบบนี้